บางครั้งเราอาจจะสงสัยและเคยได้ยินได้ฟังคำนี้มา “ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป” นั่นเป็นเพราะผลแห่งกรรมยังไม่ได้ให้ผลทันทีหรือในภพชาตินั้นๆ

บางครั้งเราอาจจะสงสัยและเคยได้ยินได้ฟังคำนี้มา “ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป” นั่นเป็นเพราะผลแห่งกรรมยังไม่ได้ให้ผลทันทีหรือในภพชาตินั้นๆ ความไม่รู้คือความไม่เข้าใจในเหตุและผล ความไม่รู้ความเป็นจริงของสิ่งต่างๆ โดยถูกต้องแจ่มแจ้ง เช่น กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม คือ กฎที่แสดงให้เห็นถึงเหตุและผลของการกระทำใดๆ ของมนุษย์ กล่าวคือ ใครกระทำกรรมอันใดไว้ ดีหรือชั่วก็ตาม บุคคลผู้กระทำนั้นจักต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้นๆ เสมอ มิได้เกิดจากการดลบันดาลจากอำนาจของพระเจ้าองค์ใด และไม่มีใครมารับผลของกรรมแทนบุคคลอื่นได้ หากเราไม่รู้ไม่เข้าใจเรื่องกฎแห่งกรรม หากเราไม่เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม กฎแห่งกรรมจะไม่สามารถให้ผลกับเราได้อย่างนั้นจริงเหรอ? ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ผลของกรรมบางอย่างปรากฏในปัจจุบันทันตาเห็น บางอย่างเห็นผลตอนตายไปแล้ว ไม่มีข้อยกเว้นให้กับใครๆ ไม่จำกัดเชื้อชาติ ภาษา ศาสนาใดก็ตามในโลก เราอาจจะเคยฟังเรื่องเล่าต่างๆ มามากมายเกี่ยวกับเรื่องกรรม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของคนอื่นหรือเราอาจจะเห็นมันกับตัวเราเองก็เป็นได้ หากเรารู้จักสังเกต เราไม่อาจจะปฏิเสธสิ่งเหล่านั้นว่าไม่มีอยู่จริง


คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน? มีคนชอบพูดคำนี้ เหมือนทำง่ายๆ แต่คนเหล่านี้เคยรู้ไหม? “คำง่ายๆ แต่ความหมายสุดลึกล้ำ”
#คิดดี
สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) หมายถึง ความรู้ในอริยสัจ ๔
สัมมาสังกัปปะ (ความคิดที่ถูกต้อง) หมายถึง เมื่อมี “สัมมาทิฏฐิ” แล้ว จึงมีความคิดในการออกจากกาม ความไม่พยาบาท และการไม่เบียดเบียน
#พูดดี
สัมมาวาจา (วาจาที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากการพูดเท็จ หยาบคาย ส่อเสียด และเพ้อเจ้อ
#ทำดี
สัมมากัมมันตะ (การปฏิบัติที่ถูกต้อง) หมายถึง เจตนาละเว้นจากการฆ่า การเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้ และการประพฤติผิดในกาม
สัมมาอาชีวะ (การหาเลี้ยงชีพที่ถูกต้อง) หมายถึง การเว้นจากมิจฉาชีพ
สัมมาวายามะ (ความเพียรที่ถูกต้อง) หมายถึง สัมมัปปธาน ๔ หมายถึง ความพยายามป้องกันอกุศลที่ยังไม่เกิด ละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว ทำกุศลที่ยังไม่เกิด และดำรงรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้ว
สัมมาสติ (การมีสติที่ถูกต้อง) หมายถึง สติปัฏฐาน ๔ กาย เวทนา จิต และธรรม
สัมมาสมาธิ (การมีสมาธิที่ถูกต้อง) หมายถึง ฌาน ๔อารัมมณูปนิชฌานลักขณูปนิชฌาน

ความทุกข์ ความดับทุกข์พุทโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานวิมุตติจิต จิตตื่นรู้ พ้นจากอวิชชาสมมุติทั้งปวงคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทาน  พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล การให้ การเสียสละ อันเป็นเหตุแห่ง ความสุขทั้งหลาย เป็นบ่อเกิดแห่งสมบัติทั้งหลาย เป็นที่ตั้งแห่งโภคะ ทั้งหลาย เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม  ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉนจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูปความทุกข์ ความดับทุกข์พุทโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานวิมุตติจิต จิตตื่นรู้ พ้นจากอวิชชาสมมุติทั้งปวง
 ทําไมเราต้องมีศาสนา โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม จึงทรงแสดงอริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา อริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา  การให้ การเสียสละ อันเป็นเหตุแห่ง ความสุขทั้งหลาย เป็นบ่อเกิดแห่งสมบัติทั้งหลาย เป็นที่ตั้งแห่งโภคะ ทั้งหลาย ทานย่อมให้สวรรค์สมบัติ พรหมสมบัติ จักรพรรดิสมบัติ สาวกบารมีญาณ ปัจเจกโพธิญาณ อภิสัมโพธิญาณ ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม จึงทรงแสดงอริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา 

คิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม  ทรงแสดงอริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น จนจิตของ บุคคลนั้นพร้อมที่จะเข้าใจในสัจธรรม จึงทรงแสดงอริยสัจธรรม ๔ อัน เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา  การให้ การเสียสละ อันเป็นเหตุแห่ง ความสุขทั้งหลาย เป็นบ่อเกิดแห่งสมบัติทั้งหลาย เป็นที่ตั้งแห่งโภคะ ทั้งหลาย ทานย่อมให้สวรรค์สมบัติ พรหมสมบัติ จักรพรรดิสมบัติ สาวกบารมีญาณ ปัจเจกโพธิญาณ อภิสัมโพธิญาณ ทานจึงเปรียบดุจ แผ่นดินใหญ่  เนกขัมมานิสังสกถา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงเรื่องของทาน ศีล สวรรค์ และโทษของกามทั้งหลายแล้ว ทรงแสดงอานิสงส์ ของการออกจากกาม ชี้แจงให้เห็นคุณของเนกขัมมะ คือการออกบวช เพื่อปฏิบัติให้ถึงธรรมอันเป็นที่สิ้นทุกข์ ซึ่งจักเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ทั้งโลกนี้และโลกหน้า ทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล การให้ การเสียสละ อันเป็นเหตุแห่ง ความสุขทั้งหลาย เป็นบ่อเกิดแห่งสมบัติทั้งหลาย เป็นที่ตั้งแห่งโภคะ ทั้งหลาย ทานย่อมให้สวรรค์สมบัติ พรหมสมบัติ จักรพรรดิสมบัติ สาวกบารมีญาณ ปัจเจกโพธิญาณ อภิสัมโพธิญาณ ทานจึงเปรียบดุจ แผ่นดินใหญ่  ทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉน โลกนี้วุ่นวาย เบียดเบียนกัน เพราะอะไร เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล  เพื่อขัดเกลาอัธยาศัยของผู้ฟังให้ประณีตยิ่งขึ้น อนุปุพพิกถามี ๕ ประการ คือ อนุปุพพิกถา ๕
๑. ทานกถา
กล่าวถึงการให้ การเสียสละ อันเป็นเหตุแห่ง ความสุขทั้งหลาย เป็นบ่อเกิดแห่งสมบัติทั้งหลาย เป็นที่ตั้งแห่งโภคะ ทั้งหลาย ทานย่อมให้สวรรค์สมบัติ พรหมสมบัติ จักรพรรดิสมบัติ สาวกบารมีญาณ ปัจเจกโพธิญาณ อภิสัมโพธิญาณ ทานจึงเปรียบดุจ แผ่นดินใหญ่ อ่านต่อ ทาน
๒. สีลกถา
กล่าวถึงความประพฤติที่ดีงาม ศีลย่อมให้สมบัติในโลกนี้และโลกหน้า เครื่องประดับใดจะงดงามเช่นกับผู้ที่มีศีลย่อมไม่มีกลิ่นใดจะหอมฟังทั้งตามลมและทวนลม เช่น กลิ่นของผู้มีศีลย่อมไม่มี พระพุทธองค์จึงตรัสศีลไว้ในลําดับต่อจากทาน อ่านต่อ ศีล
๓. สัคคกถา
เรื่องสวรรค์ กล่าวถึงทิพยสุขทิพยสมบัติที่น่าปรารถนาอันจะพึงได้รับ จากผลแห่งทานและศีลที่กระทําแล้ว ย่อมได้ในสวรรค์ พระพุทธองค์จึงทรงแสดงสัคคกถาไว้ในลําดับต่อจากศีล อ่านต่อ สวรรค์
๔. กามาทีนวกถา
พระพุทธองค์ตรัสว่า แม้ความสุขในสวรรค์ ก็ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่ควรยินดีพอใจเพียงแค่สวรรค์ เปรียบเหมือนบุคคลประดับช้างให้งดงามแล้ว กลับตัดเอางวงของช้างไป จึงแสดงโทษ และความต่ำทราม ความเศร้าหมองของกามว่า กามทั้งหลายมีสุขน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก พระพุทธองค์จึงตรัสกามาที่นวกถา ไว้ในลําดับต่อจากสวรรค์ อ่านต่อ โทษของกาม
๕. เนกขัมมานิสังสกถา
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงเรื่องของทาน ศีล สวรรค์ และโทษของกามทั้งหลายแล้ว ทรงแสดงอานิสงส์ ของการออกจากกาม ชี้แจงให้เห็นคุณของเนกขัมมะ คือการออกบวช เพื่อปฏิบัติให้ถึงธรรมอันเป็นที่สิ้นทุกข์ ซึ่งจักเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ทั้งโลกนี้และโลกหน้า อ่านต่อ การออกจากกาม
อริยสัจธรรม ๔
เมื่อทรงทราบว่าบุคคลนั้น มีจิตที่ปราศจากกิเลส มีจิตที่ปราศจากนิวรณ์ คือ กามฉันทนิวรณ์ เป็นต้น มีจิตที่เบิกบานผ่องใส ประกอบด้วยปีติและปราโมทย์ สมบูรณ์ด้วยศรัทธาในสัมมาปฏิบัติแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงประกาศอริยสัจธรรม ๔ ประการ ที่พระองค์ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง คือ ทุกขอริยสัจ ทุกขสมุทยอริยสัจ ทุกขนิโรธ อริยสัจ และ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ เพื่อให้บุคคลนั้นพิจารณา เห็นสัจธรรม ตรัสว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา
อ่านเพิมเติ่ม
บรรลุนิพพาน บรรลุธรรม ดวงตาเห็นธรรม ประจักษ์แจ้งพระนิพพาน มรรคผลนิพพานมีจริงอนุปุพพิกถา ๕ และ อริยสัจ ๔ การศึกษาตามลำดับลุ่มลึกลงสู่การพ้นทุกข์๖ ขั้นตอนสู่การบรรลุนิพพาน-guidelineนิพพานธาตุโพชฌงค์อายตนะขันธ์โพธิปักขิยธรรมสังโยชน์ไตรลักษณ์ปฏิจจสมุปบาทอินทรีย์อริยสัจ ๔กรรมวัฏฏะ
วิวัฏฏะมหาสุญญตาสูตรอรูปพรหมภูมิ ๔รูปพรหมภูมิ ๑๖อบายภูมิ ๔ – เดรัจฉานภูมิอบายภูมิ ๔ – อสุรกายภูมิอบายภูมิ ๔ – เปตภูมิอบายภูมิ ๔ – นรกภูมิกามสุคติภูมิ ๗ – สวรรค์ ๖ภพภูมิของสัตว์โลก ๓๑ ภูมิวัฏสงสาร สังสารวัฏ สงสารวัฏวิสุทธิ ๗
มัคคสมังคี มรรคสมังคีบันได ๑๐ ขั้น สู่อรหันต์สติปัฏฐาน ๔วิปัสสนากัมมัฏฐานสมถกัมมัฏฐานวิปัสสนาญาณ ๙วิปัสสนาญาณ ๑๖มรรคมีองค์ ๘ความสุขที่แท้จริงโสดาบันสกทาคามีอนาคามีพระอรหันต์ ๔ ประเภทพระอรหันต์โลกวิปัตติสูตร โลกธรรม ๘
อาทิตตปริยายสูตร
อนัตตลักขณสูตรธัมมจักกัปปวัตตนสูตรทําไมเราต้องมีศาสนาคิดดี พูดดี ทำดี เป็นไฉนจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูปความทุกข์ ความดับทุกข์พุทโธ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานวิมุตติจิต จิตตื่นรู้ พ้นจากอวิชชาสมมุติทั้งปวง